ประเภท การ ตลาด ทาง ตรง

ระบบข้อมูลภายในกิจการ 2. ระบบข่าวกรองการตลาด 3. ระบบข้อมูลวิจัยการตลาด 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการตลาด ระบบสารสนเทศทางการตลาด จะประกอบด้วยระบบหน่วย ซึ่งแบ่งตามหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ 1. ระบบสารสนเทศสำหรับการขาย จะประกอบด้วย 1. 1 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของฝ่ายข่าย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่ระบบต้องการอาจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทำการขาย รูปแบบ ราคาและการโฆษณาต่าง ๆ 1. 2 ระบบสารสนเทศสำหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศในเรื่องของกำไรหรือขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขาย ยอดขายของแต่ละเขตการขาย รวมทั้งแนวโน้มการเติมโตของสินค้า 1. 3 ระบบสารสนเทศสำหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึงรูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อธุรกิจจะสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างเหมาะสมและมประสิทธิภาพ 2. ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยตลาด จะประกอบด้วย 2. 1 ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับการวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่าการวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขตของการใช้สารสนเทสกว้างกว่าการ วิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัยลูกค้าจะต้องทราบสารสนเทศที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้านสถานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ ความพอใจ รสนิยม และพฤติกรรมการบริโภค 2.

ประเภทของช่องทางการจัดจำหน่าย - Principle Of Marketing

2 เหมาะสำหรับสินค้าที่เน่าเสียง่ายหรือสินค้าที่ล้าสมัยเร็ว และลูกค้าอยู่อย่างกระจัดกระจายพอสมควร จึงต้องผ่านพ่อค้าปลีกช่วยกระจายสินค้า เช่น นมสด ไอศกรีม เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น -------- 2. 3 เหมาะสำหรับสินค้าเปรียบเทียบซื้อและเจาะจงซื้อ เนื่องจากสินค้าพวกนี้ล้าสมัยง่าย และลูกค้าอยู่กระจัดกระจายพอสมควร -------- 2. 4 เหมาะสำหรับผู้ผลิต ที่มีฐานะทางการเงินดี และสามารถจัดจำหน่ายโดยผ่าน ร้านค้าปลีกได้ -------- 3. ช่องทางสองระดับ ( two level channel) -------- 3. 1 เหมาะสำหรับสินค้าที่ต้องอาศัย การขายผ่านร้านค้าปลีกที่มีจำนวนมากและอยู่กระจัดกระจาย จึงต้องอาศัยพ่อค้าส่งช่วยขายต่อไปยังพ่อค้าปลีก เพราะผู้ผลิตไม่สามารถทำการติดต่อกับร้านค้าปลีกได้ทั่วถึง เช่น การขายสินค้าในต่างจังหวัด -------- 3. 2 เหมาะสำหรับสินค้าที่ไม่เน่าเสียง่ายหรือสินค้าสะดวกซื้อ หรือสินค้าที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามสมัยนิยม มีลูกค้าเป้าหมายจำนวนมาก และอยู่กระจัดกระจาย เช่น สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก เป็นต้น -------- 3. 3 เหมาะสำหรับผู้ผลิตขนาดเล็ก มีสินค้าน้อยรายการ และฐานะทางการเงินไม่เข้มแข็งพอที่จะส่งสินค้าไปยังพ่อค้าปลีกที่อยู่กระจัดกระจายได้เองจึงต้องอาศัยพ่อค้าส่ง -------- 4.

ช่องทางสองระดับ -------- 4. 1 เหตุผลที่ผ่านตัวแทนเพราะผู้ผลิตไม่สะดวกที่จะจัดจำหน่ายเอง เช่น อยู่คนละประเทศ ไม่ชำนาญหรือต้องการตัดปัญหาในการจัดจำหน่าย จึงแต่งตั้งตัวแทน ( agent) ให้ทำหน้าที่จำหน่ายสินค้าแทนผู้ผลิต -------- 4. 2 เหตุผลที่ผ่านพ่อค้าปลีก เพราะผู้บริโภคอยู่กระจัดกระจายพอสมควร -------- 5. ช่องทางสามระดับ ( three level channel) -------- 5. 1 เหตุผลที่ผ่านตัวแทนเพราะผู้ผลิตไม่สะดวกที่จะจัดจำหน่ายเอง -------- 5. 2 เหมาะสำหรับสินค้าที่ต้องอาศัยการขายผ่านร้านค้าปลีกที่มีจำนวนมาก และอยู่กระจัดกระจายจึงต้องอาศัยพ่อค้าส่งช่วยขายต่อไปยังพ่อค้าปลีก -------- 5. 3 เหมาะสำหรับสินค้าที่ไม่เน่าเสียง่ายหรือสินค้าสะดวกซื้อ -------- 5. 4 เหมาะสำหรับผู้ผลิตขนาดเล็ก มีสินค้าน้อยรายการและฐานะการเงินไม่เข้มแข็ง จึงต้องอาศัยตัวแทนและพ่อค้าส่ง ช่วยแบ่งเบาภาระด้านการคลังสินค้า การขนส่ง การเก็บรักษา สินค้า การเงิน และรับภาระด้านการจัดจำหน่าย ฯลฯ

การส่งเสริมการขายสู่ผู้บริโภค เช่น การลดราคา การแจกสินค้าตัวอย่าง ฯลฯ 2. การส่งเสริมการขายสู่พ่อค้าคนกลาง เช่น การให้ส่วนลด การประชุมผู้ค้ำ ฯลฯ 3. การส่งเสริมการขายสู่พนักงานขาย เช่น การให้รางวัล การให้โบนัส การฝึกอบรม ฯลฯ วิธีการส่งเสริมการขายมี 5 วิธี คือ 1. การชิงโชค 2. การลดราคา 3. การแจกของตัวอย่าง 4. การใช้คูปอง 3. การขายโดยพนักงานขาย ( personal selling) พนักงานขาย หมายถึง ผู้แทนของบริษัทที่ไปพบผู้ที่คาดหวัง โดยมีวัตถุประสงค์ว่าจะเปลี่ยนแปลงสถานภาพของผู้ที่คาดหวังให้เป็นลูกค้า การบริหารการขาย หมายถึง การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการควบคุมโปรแกรมการขายโดยบุคคลที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการขายของบริษัท กระบวนการขาย ( selling process) แบ่งเป็น 7 ขั้นตอนต่อเนื่องกันดังต่อไปนี้ 1. การเสาะแสวงหาผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้า ( The prospecting) หมายถึง วิธีการดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งบัญชีรายชื่อของบุคคลหรือสถาบันที่มีโอกาสจะเป็นผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้า 2. การเตรียมการก่อนเข้าพบลูกค้า ( The preapproach) หมายถึง ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าที่ผ่านการกลั่นกรองแล้ว 3.

  1. เปิด ไฟ คีย์บอร์ด acer swift 3 reviews
  2. We bare bear miniso ราคา 3d
  3. ปิด ตา หลวง ปู่ โต๊ะ ยันต์ ดวง เล็ก แช่ น้ำมนต์
  4. หน่วยที่ 4 เครื่องมือการสื่อสารทางการตลาด - nongwarunya306
  5. กระเป๋า Louis Vuitton รุ่น เช็คราคาล่าสุด ราคาถูก ราคาปัจจุบัน
  6. คั่วกลิ้งกระดูกอ่อน วิธีทำพร้อมสูตร อาหารใต้ สูตรเด็ด รสจัดจ้าน

ระบบสารสนเทศทางการตลาด | rujnattapat

ดอก เด ฟ ฟา เด ล

พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ. ศ. 2545 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) กำหนดให้การทำตลาดสินค้าหรือบริการในลักษณะของการสื่อสารข้อมูล เพื่อเสนอขายสินค้าหรือบริการโดยตรงต่อผู้บริโภค ซึ่งอยู่ห่างโดยระยะทางและมุ่งหวังให้ผู้บริโภคแต่ละรายตอบกลับ เพื่อซื้อสินค้าหรือบริการนั้น เรียกว่า "ธุรกิจตลาดแบบตรง" ดังนั้น การประกอบธุรกิจในลักษณะดังกล่าว ผู้ประกอบการจะต้องยื่นขอจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงกับ สคบ. ตามมาตรา 38 หากผู้ประกอบธุรกิจรายใดฝ่าฝืนจะต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ที่ Thaitaxlaw เรามีบริการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรง กับ สคบเพื่อเอื้ออำนวยให้ผู้ประกอบการที่ค้าขายออนไลน์ได้ทำธุรกิจอย่างถูกต้อง ขั้นตอนและกรเขียนรายงานส่งทาง สคบ. ค่อนข้างมีความยุ่งยากและใช้เวลาเยอะ ให้เราช่วยคุณในขณะที่คุณได้ไปทำสิ่งที่ถนัด อ่านรายละเอียดข้อมูลบริการจดทะเบียนด้านล้างได้เลย เลือกใช้บริการที่ต้องการ ปัจจุบัน (สคบ. ) ได้มีการตรวจสอบเข้มขึ้นโดยเฉพาะผู้ค้าออนไลน์ เนื่องจากมีการร้องเรียนจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นการหลอกลวง การขายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ สินค้าไม่ตรงปก การจดทะเบียนการประกอบธุรกิจตลาดแบบตรงกับ สคบ.

ลักษณะของตลาด 2. ลักษณะของสินค้าและบริการ 3. ลักษณะของธุรกิจหรือองค์กรการผลิต 4. ลักษณะคู่แข่ง 5. ลักษณะของคนกลาง 6. ลักษณะของสภาพแวดล้อม การตัดสินใจเลือกช่องทางการจัดจำหน่าย มีอยู่ 2 วิธี คือ 1. การตัดสินใจเชิงคุณภาพ 2. การตัดสินใจเชิงปริมาณ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับช่องทางการจัดจำหน่าย 1. ผู้ค้าส่ง ( Wholesaler) 2. พ่อค้าคนกลาง ( Middleman) 3. ผู้ค้าปลีก ( Retailer) ปัญหาของช่องทางการจัดจำหน่าย 1. ผู้จัดจำหน่ายจะเลือกจำหน่ายสินค้าที่ให้กำไรสูงสุด 2. ผู้จัดจำหน่ายไม่ให้ความสนใจข้อมูลสินค้าแก่ผู้บริโภค 3. ผู้จัดจำหน่ายสินค้ามานานจะเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการจำหน่ายสินค้า 4. ผู้จัดจำหน่ายไม่มีความรู้ในสินค้าและบริการ 5. ผู้จัดจำหน่ายมีปัญหาด้านการเงิน การส่งเสริมการขาย ( Sales Promotion) หมายถึง กิจกรรมส่งเสริมการตลาดที่จะจูงใจหรือกระตุ้นให้ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นในระยะเวลาสั้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. การติดต่อสื่อสาร 2. เสนอสิ่งจูงใจ 3. สนับสนุนและใช้ร่วมกับการโฆษณาและกิจกรรมการขายโดยใช้พนักงานขายและมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการสอบถาม 2) เพื่อเพิ่มการซื้อสินค้าจากลูกค้า 3) เพื่อสนับสนุนให้เกิดการซื้อซ้ำ 4) เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้าให้มากขึ้น 5) เพื่อให้มีการซื้อสินค้ากักตุน ประเภทและวิธีการส่งเสริมการขายแบ่งออกเป็น 1.

my man can 23 ก ย 56
Saturday, 25-Dec-21 14:36:37 UTC ระบอบ-ประชาธปไตย-ม-ความ-สา-ค-ญ-อยางไร